เด็ก LD ไม่ได้น่ากังวลอย่างที่ครูเข้าใจ
ไม่ใช่เรื่องที่ใครเข้าใจได้ง่าย ๆเพราะด็ก LD นั้น มีความบกพร่องจาก 3 ด้านหลัก ๆ คือ 1.ด้านการอ่าน 2.ด้านการเขียน 3.ด้านการคำนวณ
จับเทคนิคสอนอ่านออก เขียนได้
บทความนี้นำการสอนด้วยวิธีแจกลูกสะกดคำพร้อมเทคนิคสำหรับเด็กที่ยังไม่เคยอ่านเขียนจริงจัง ไปสู่การจัดการเรียนการสอนของเด็กๆให้เข้าใจง่าย
จิตวิทยาเด็ก อาวุธลับของครูปฐมวัย
จิตวิทยาเด็กคือขุมทรัพย์และยาขนานดีที่ยิ่งครูมีมาก เราจะเข้าใจเด็ก ๆ ของเรามากขึ้นว่าทำไมเด็กแต่ละคนถึงมีความแตกต่างและไม่เหมือนกัน
ไอน์สไตน์กล่าวไว้ว่า
 “เราทุกคนเป็นอัจฉริยะ แต่หากเราตัดสินปลาจากความสามารถในการปีนต้นไม้ ปลาตัวนั้นก็ต้องใช้ชีวิตอยู่กับความเชื่อที่ว่าตัวเองโง่งมไปตลอดชีวิต”
แนวคิดเก้าอี้ 3 ขา
เป็นเรื่องใหม่ซึ่งในต่างประเทศนำแนวคิดนี้มาใช้ในองค์กร เน้นความเข้าใจเรื่องการแสดงพฤติกรรมของคน และใช้หลักการจิตวิทยาและเพื่อพัฒนาคนในองค์กรนั้น ๆ
LD (Learning Disability)
เป็นความบกพร่องทางการเรียนรู้ 3 ด้าน คือ 1.ด้านการอ่าน 2.ด้านการเขียน 3.ด้านการคำนวณ ซึ่งเด็กเหล่านี้สามารถใช้ชีวิตได้เหมือนปกติทั่วไป ถ้าได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม
ทำความรู้จัก เด็กLD
เด็ก LD จะเหมือนเด็กปกติทั่วไปมาก แต่เมื่อเข้าเรียนจะเห็นชัดว่าเด็ก LD จะเบื่อการอ่าน อ่านหนังสือไม่เข้าใจ อ่านแบบตะกุกตะกัก และวิชาที่เป็นปัญหาสำหรับเด็ก LD มาก ๆ คือ คณิตศาสตร์
จาก STEM สู่ STEAM กับแผนปั้นผู้เรียนคุณภาพ
เมื่อเด็กในปัจจุบันคือความหวังของประเทศชาติในอนาคต “ครู” ในฐานะแม่พิมพ์ของชาติ ต้องสอนอย่างไรให้ผู้เรียนฉลาดทั้งด้านศาสตร์วิชาและศิลปะแห่งการคิดสร้างสรรค์พร้อมในคนเดียว
ผสมผสานการสอนสะเต็มอย่างไร
เมื่อการเรียนรู้สะเต็มแบบเดิมที่สอนแต่ละวิชาแยกกัน เริ่มจำเจ ซับซ้อน และนักเรียนเบือนหน้าหนีพฤติกรรมแบบนี้ อาจเป็นเพียงเนื้อหาซ้ำเดิม ที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเบื่อหน่าย
Growth Mindset
หรือ กรอบความคิดเชิงบวก ที่สามารถพัฒนาและสร้างได้ในตัวบุคคล ปัญหาและอุปสรรคเป็นโอกาสในการเรียนรู้และพัฒนา ให้ความสำคัญกับความพยายาม เด็กที่มี Growth Mindset  จะกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้จากปัญหา
Empathy ความเข้า(ถึง)ใจที่สอนกันได้
 ปัจจุบันเรื่อง Empathy นั้นสำคัญไม่แพ้เรื่องวิชาการ ยิ่งเด็ก ๆ ที่ต้องได้รับการพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ ตลอดเวลา ทำให้ต้องทำกิจกรรมหลากหลายไปพร้อมกัน การตอบสนองกับสิ่งรอบข้างอาจช้าหรือน้อยลง
Digital Literacy สอนเพื่อให้รู้ และ อยู่ได้ในสังคมแห่งอนาคต
ทักษะความ เข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แท็บเล็ต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และสื่อสังคมออนไลน์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
วิทยาการคำนวณ วิชาสำหรับโลกยุคใหม่ ที่เด็กไทยเลี่ยงไม่ได้
ทุกวันนี้ผู้คนจำนวนมากใช้เวลาอยู่หน้าสมาร์ทโฟน ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ย่อส่วน แท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีรูปแบบต่างๆ ตลอดเวลา
 7 เทคนิค ช่วยเด็ก ๆ คิดโครงงานวิทยาศาสตร์ แบบง้ายง่าย
ในการสังเกตสิ่งแวดล้อมทั่วไปรอบๆ ตัวนักเรียนที่เป็นปัญหา เช่น สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ในการประกอบอาชีพในชุมชนหรือท้องถิ่นว่ามีปัญหาเกิดขึ้นอย่างไรบ้าง
เทคโนโลยี(หน้าจอ) ภัยร้ายจริงไหม?
 การปล่อยให้เด็กปฐมวัยอยู่กับหน้าจอและใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้จะไม่ใช่เรื่องที่น่ากังวลอีกต่อไป ถ้าหากครูหรือผู้ปกครองมีการใช้อย่างถูกวิธี รู้จักเลือกสื่อที่เหมาะสมกับวัย พร้อมกับดูแลพูดคุยเอาใจใส่เด็กอย่างใกล้ชิด
Blended Learning กับโลกปัจจุบัน
Blended Learning คือการเรียนการสอนที่ถูกพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมด้วยระบบของการศึกษาที่ผันเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า การเรียนรู้แบบผสมผสานจึงเป็นสูตรใหม่ของการเรียนการสอนที่ถูกพัฒนาให้เราได้นำมาประยุกต์ใช้

                                     

ทำไมต้อง Active Learning
Active Learning เป็นคำที่เราได้ยินและคุ้นหูกันมานาน ครูหลายคนจัดการเรียนการสอนในรูปแบบนี้อยู่แล้ว โดยเฉพาะหลังเกิดโรคระบาดที่เด็กทั่วโลกต้องหันมาเรียนออนไลน์
Upskill เรื่อง Active Learning กันอีกสักครั้ง
แนวคิดสำคัญของ Active Learning คือ การเน้นไปที่ “กระบวนการเรียนรู้” มากกว่า “เนื้อหาวิชา” เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเองด้วยการลงมือปฏิบัติจริง
 
การจัดการเรียนรู้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) กับผู้เรียนในยุค Digital 4.0
ในยุคที่เทคโนโลยีพัฒนาแบบก้าวกระโดด และมีบทบาทสําคัญต่อการใช้ชีวิตและการทํางาน
 
PBL การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
Project-based Learning (PBL) หรือการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้เชื่อมโยงเหตุการณ์จาก ชีวิตจริงสู่การเรียนรู้ ค้นหาคําตอบด้วยการคิด ค้นคว้า ปฏิบัติจริง